ลดอาการปวดหลัง ปวดกระดูก เรื้อรัง บำรุงด้วยอาหารเสริมกระดูกแคลเซียม แอล-ทรีโอเนต

siripongwonganu

สมาชิกโดดเด่น
Registered
เข้าร่วม
18 มกราคม 2019
ข้อความ
165
บ่อยครั้งที่คุณมักจะได้ยินคนรอบ ๆ ตัวบ่นปวดหลัง หรือแม้กระทั้งตัวคุณเองก็น่าจะเคยมี ประสบการณ์การปวดหลังมาบ้าง ซึ่งอาการปวดหลังก็มาจากหลายสาเหตุด้วยกัน เช่นการถูกใช้งานที่มากเกินไป มีภาวะกระดูกพรุน มีความเสื่อมของหมอนรองกระดูกสันหลังที่เสื่อมไปตามวัยจนเกิดการทรุด หรือมาจากอุบัติเหตุรุนแรง เช่น ล้ม กระแทก หรือตกจากที่สูง ซึ่งปัญหาที่พบคือกระดูกหัก กระดูกเคลื่อนเป็นต้น โดยมีต้นเหตุหลัก ๆ เกิดมาจากกระดูกของเราที่มีความแข็งแรงไม่พอนั่นเอง ซึ่งมีหลายคนมีอาการที่ไม่ใช่แค่ปวดหลังอย่างเดียว แต่มีอาการร้าวลงขา ปวดกระดูก เรื้อรัง แบบนี้ต้องทำอย่างไรดี ? หรือวิธีป้องกันหรือลดอาการปวดหลังได้อย่างไรบ้าง? เรามีคำตอบค่ะ

ba73c6da8f121b2e235cbeb20ca71c48.jpg
เนื่องจากกระดูกเป็นอวัยวะที่สำคัญกับร่างกายเรามาก เป็นส่วนประกอบหลักที่มีอยู่ ทั่วร่างกายทำหน้าที่หลักในการประคองให้ร่างกายทรงตัว ในการยืน นั่ง นอน ได้ ช่วยให้เราดำเนินชีวิตได้ตามปกติ กระดูกของคนประกอบไปด้วยโปรตีน collagen ซึ่งสร้างโยงเป็นใยโดยมี Calcium Phosphate เป็นสารที่ทำให้กระดูกแข็งแรง และทนต่อแรงดึงรั้งของกล้ามเนื้อและเอ็นในร่างกาย แคลเซียมจะมีอยู่ในกระดูก ร้อยละ 99 และอยู่ในเลือดร้อยละ 1 ในชีวิตประจำวัน คนเราจะรับประทานแคลเซียมไม่เพียงพอ ในการเสริมสร้างมวลกระดูก ซึ่งทำให้การเกิดภาวะกระดูกเสื่อม กระดูกบาง หรือโรคกระดูกพรุนได้ง่าย

การดูแลกระดูกให้แข็งแรง และป้องกันภาวะกระดูกเสื่อม กระดูกพรุน
- เลือกรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมให้เพียงพอ ประมาณวันละ 1,000 มิลลิกรัม แต่ผู้หญิงในช่วงวัยหมดประจำเดือน (อายุ 50-55 ปี) ควรรับประทานแคลเซียมวันละ 1,500 มิลลิกรัม โดยรับประทานปลาเล็กปลาน้อยทอดกรอบ กุ้งแห้ง กุ้งฝอย กะปิ เต้าหู้เหลือง เป็นต้น
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ การออกกำลังกายจะกระตุ้นให้เกิดการสร้างมวลกระดูกมากขึ้น ทั้งนี้ ชนิดของการออกกำลังกายที่เหมาะสมก็ขึ้นอยู่กับโรคประจำตัว สภาพร่างกายเดิม
- หยุดสูบบุหรี่ หยุดดื่มแอลกอฮอล์ ไม่ควรดื่มน้ำอัดลมเป็นประจำ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ไม่อ้วนหรือผอมเกินไป
- รับประทานอาหารเสริมกระดูกแคลเซียม เพื่อเพิ่มมวลกระดูก โดย แคลเซียมที่ใช้ควรเป็นแคลเซียม แอลทรีโอเนต เพราะการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ได้ดีกว่าแคลเซียมอื่น ๆ ถึง 6 เท่า

มวลกระดูกไม่สามารถสร้างให้เพิ่มขึ้นได้ในชั่วข้ามคืนจะต้องค่อย ๆ สะสมมวลกระดูกอย่างช้า ๆ เป็นเวลานาน และควรทานอาหารเสริมแคลเซียมเพื่อเสริมสร้างกระดูก และลดการเกิดโรคกระดูกพรุน หรือช่วยลดอาการปวดกระดูก ปวดตามตัว ปวดหลัง บำรุงด้วยอาหารเสริมกระดูกแคลเซียม แอล-ทรีโอเนต พลัส แมกนีเซียม

ece4cd49b6af40dbdb942fc1fb19b493.jpg
เหตุผลที่ควรทานอาหารเสริมกระดูก แคล-ที (แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต พลัส แมกนีเซียม)
- ผลิตจากข้าวโพด (แคลเซียมข้าวโพด)
- ดูดซึมได้มากกว่า 95%
- ไม่ตกตะกอน ไม่ก่อนิ่วในไต
- ไม่ทำให้ท้องผูก
- ไม่ต้องใช้วิตามินดี ในการดูดซึม
- สามารถรับประทานก่อน หรือ หลังอาหารก็ได้

คุณสมบัติอาหารเสริมกระดูกพรุน แคล-ที (แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต พลัส แมกนีเซียม)
- ดูแลโรคกระดูกพรุน แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต
(แคลเซียมข้าวโพด) ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับกระดูก ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนในกระดูก และยับยั้งการสลายตัวของกระดูก
- ดูแลโรคข้อเสื่อม แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (แคลเซียมข้าวโพด) จะกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนในกระดูก และกระดูกอ่อน รวมทั้งสร้างน้ำไขข้อ ส่งเสริมให้กระดูกและข้อแข็งแรง
- ดูดซึมได้ดี แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (แคลเซียมข้าวโพด) ดูดซึมได้ด้วยตัวเองถึง 95 % เป็น passive transport ซึมผ่านระหว่างเซลล์ โดยไม่ต้องอาศัยวิตามินดี ซึ่งแคลเซียมชนิดอื่น ๆ ต้องใช้วิตามินดี ช่วยในการดูดซึม
- ไม่ทำให้ท้องผูก แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต (แคลเซียมข้าวโพด) แตกตัวและละลายได้ดีในน้ำ จึงไม่หลงเหลือให้ตกตะกอน หรือสะสมเกาะตามอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย และไม่ทำให้ท้องอืด ท้องผูก

ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมป้องกันกระดูกพรุน จากแคล-ที ใน 1 แคปซูล อัดแน่นไปด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ คือ
- Calcium L-Threonate (แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต) – 250 มิลลิกรัม
- Calcium Amino Acid Chelate (แคลเซียม อะมิโนแอซิด คีเลต) 33% – 350 มิลลิกรัม
- Magnesium Amino Acid Chelate (แมกนีเซียม อะมิโน แอซิด คีเลต) 18% – 282 มิลลิกรัม
- วิธีทาน ครั้งละ 1-2 แคปซูล วันละ 2 ครั้ง/วัน

7d06999acd1e139416fbd5b1de4b1603.jpg
หากท่านใดสนใจสินค้าหรืออยากทราบรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตามความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกับเราได้ที่
Website :
https://www.cal-t.com/กระดูกพรุนป้องกันได้
Facebook : https://www.facebook.com/CalTthailand
 

กระทู้เพิ่มเติมหมวดหมู่เดียวกัน

กระทู้ที่คล้ายกัน

กลับ
บน ล่าง