- เข้าร่วม
- 3 มีนาคม 2015
- ข้อความ
- 54
หมอไกรวิทย์ เฮงสวัสดิ์ กับการลดขนาดจมูกด้วยการผ่าตัดสามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ
การลดขนาดจมูกด้วยการผ่าตัดสามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 (การแก้ไขจมูกงุ้ม) การ ลดกระดูกจมูกส่วนสันที่โค้งนูน หรือโก่ง หรือที่เรียกว่าจมูกเหยี่ยว , จมูกเล่ห์เหลี่ยมเป็นเงี่ยงคล้ายๆ แม่มด เป็นปัญหาความสวยงามที่สำคัญโดยเฉพาะสำหรับชาวตะวันตกและเอเชียกลาง ซึ่งแพทย์สามารถแก้ไขได้โดย การตกแต่งกระดูกอ่อน
วิธีการผ่าตัด
กรณี ที่คนไข้มีกระดูกสันจมูกที่นูนใหญ่ผิดปกติ เป็นสาเหตุให้ฐานจมูกกว้าง แพทย์จะเล็มผนังโพรงจมูกด้านในออกเล็กน้อยแล้วเย็บเพื่อเป็นการดึงจมูกให้ แคบเข้า การผ่าตัดแก้ไขจมูกที่งุ้มนั้น ส่วนมากจะทำไปพร้อมๆกับการผ่าตัดเสริมจมูก
กรณีสันจมูกที่โค้งนูน และปลายจมูกงุ้ม ถ้า ปลายงุ้มตรงแค่ปลายจมูกเพียงเล็กน้อย สามารถทำการแก้ไขโดย แพทย์จะใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์คล้ายเลื่อยและสิ่ว ค่อยๆปรับแต่งสันจมูกให้เรียบ และเล็มผนังปลายจมูก แต่ถ้าจมูกดูเหมือนยื่นออกมานั้น สาเหตุเกิดจากที่ ปลายจมูกและสันจมูกนั้นเตี้ย การผ่าตัดแก้ไขนั้น จำเป็นต้องยกปลายจมูก และสันจมูกขึ้น หลังจากนั้นทำการตัดแต่งกระดูกบริเวณที่ยื่นออกมา
กรณีที่จมูกนั้นงุ้มมาก การ แก้ไขโดยการปรับแต่งสันจมูกอย่างเดียวนั้น อาจไม่ได้ผลที่ดีพอ แต่ต้องทำการปรับแต่งบริเวณกระดูกจมูก กระดูกอ่อน และผนังกั้นจมูก เพื่อทำให้บริเวณกระดูกที่ไม่เป็นทรงทั้งหมดเข้าที่ เพื่อรูปทรงที่สวยงาม ในหลายๆกรณีที่ผ่านมา ไม่เพียงแต่สันจมูกเท่านั้น แต่กระดูกจมูกนั้นแยกออกจากกันทั้ง 2 ด้าน สำหรับการแก้ปัญหานี้ ทำได้โดยการผ่าตัดกระดูกอ่อนด้านซ้าย และขวามารวมกันตรงกลาง และปรับให้มีขนาดแคบลง เพื่อรูปทรงที่สวยงาม ในผู้ป่วยที่ผิวหนังบริเวณจมูกบาง บางครั้งจำเป็นต้องมีการใช้พังผืดผิวหนังมาช่วยยึด เพื่อช่วยป้องกันไม่ให้กระดูกสันจมูกหักได้
วิธีที่ 2 (การแก้ไขจมูกรูปชมพู่) การ ลดความกว้างของฐานจมูก คือ การเลื่อนสามเหลี่ยมที่ประกอบขึ้นเป็นโครงจมูก ขยับขาให้เข้ามาแคบลง ซึ่งโดยปกติจมูกกับโครงใบหน้าอื่นๆ นั้นเป็นชิ้นเดียวกัน จึงเลื่อนกระดูกเข้ามาได้มากที่สุดเท่ากับ 'ความหนา' ของมันเท่านั้น เพราะถ้าห่างมากกว่านั้น กระดูกจะลอยอยู่ (ไม่ได้เชื่อมต่อกับโครงหน้า) ส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงลดลงข้างละไม่เกิน 1 มม. หากเป็นผู้หญิงที่กระดูกบาง อาจจะได้เพียง 0.8-0.9 มม. เท่านั้น
วิธีการผ่าตัด เริ่ม จากการดมยาสลบ แล้วแพทย์จะใช้สิ่วทางการแพทย์ที่มีขนาดเล็กมาก กว้างเพียงไม่กี่มิลลิเมตร สอดเข้าไปในรูจมูก แล้วค่อยๆ แซะตัดกระดูกบริเวณฐานจมูก (ตรงจุดเชื่อมต่อระหว่างจมูกกับกระดูกแก้ม) เพื่อเลื่อนฐานสามเหลี่ยมเข้ามา แล้วเย็บปิดแผลซ่อนอยู่ในรูจมูก หลังผ่าตัด ใบหน้าจะมีการบวมเหมือนกับการผ่า ตัดทั่วไป โดยจะบวมและรู้สึกปวดมากที่บริเวณจมูกใน 3 วันแรก ให้นอนหนุนหมอนสูง การลุกเคลื่อนไหวจะช่วยให้ยุบบวมเร็วขึ้น และพักให้มากที่สุด การบวมจะค่อยๆ ยุบลงภายใน 1- 2 สัปดาห์ อาจมีรอยฟกช้ำบ้าง และหายไปในที่สุด ซึ่งความช้ำของแผลจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการผ่าตัดว่าฝีมือแพทย์ และยังขึ้นอยู่กับปัจจัยตัวคนไข้เองด้วย โดยหากเป็นผู้ที่มีอายุจะมีโอกาสเขียวช้ำมากกว่า
การลดขนาดจมูกด้วยการผ่าตัดสามารถแบ่งได้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 (การแก้ไขจมูกงุ้ม) การ ลดกระดูกจมูกส่วนสันที่โค้งนูน หรือโก่ง หรือที่เรียกว่าจมูกเหยี่ยว , จมูกเล่ห์เหลี่ยมเป็นเงี่ยงคล้ายๆ แม่มด เป็นปัญหาความสวยงามที่สำคัญโดยเฉพาะสำหรับชาวตะวันตกและเอเชียกลาง ซึ่งแพทย์สามารถแก้ไขได้โดย การตกแต่งกระดูกอ่อน
วิธีการผ่าตัด
กรณี ที่คนไข้มีกระดูกสันจมูกที่นูนใหญ่ผิดปกติ เป็นสาเหตุให้ฐานจมูกกว้าง แพทย์จะเล็มผนังโพรงจมูกด้านในออกเล็กน้อยแล้วเย็บเพื่อเป็นการดึงจมูกให้ แคบเข้า การผ่าตัดแก้ไขจมูกที่งุ้มนั้น ส่วนมากจะทำไปพร้อมๆกับการผ่าตัดเสริมจมูก
กรณีสันจมูกที่โค้งนูน และปลายจมูกงุ้ม ถ้า ปลายงุ้มตรงแค่ปลายจมูกเพียงเล็กน้อย สามารถทำการแก้ไขโดย แพทย์จะใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์คล้ายเลื่อยและสิ่ว ค่อยๆปรับแต่งสันจมูกให้เรียบ และเล็มผนังปลายจมูก แต่ถ้าจมูกดูเหมือนยื่นออกมานั้น สาเหตุเกิดจากที่ ปลายจมูกและสันจมูกนั้นเตี้ย การผ่าตัดแก้ไขนั้น จำเป็นต้องยกปลายจมูก และสันจมูกขึ้น หลังจากนั้นทำการตัดแต่งกระดูกบริเวณที่ยื่นออกมา
กรณีที่จมูกนั้นงุ้มมาก การ แก้ไขโดยการปรับแต่งสันจมูกอย่างเดียวนั้น อาจไม่ได้ผลที่ดีพอ แต่ต้องทำการปรับแต่งบริเวณกระดูกจมูก กระดูกอ่อน และผนังกั้นจมูก เพื่อทำให้บริเวณกระดูกที่ไม่เป็นทรงทั้งหมดเข้าที่ เพื่อรูปทรงที่สวยงาม ในหลายๆกรณีที่ผ่านมา ไม่เพียงแต่สันจมูกเท่านั้น แต่กระดูกจมูกนั้นแยกออกจากกันทั้ง 2 ด้าน สำหรับการแก้ปัญหานี้ ทำได้โดยการผ่าตัดกระดูกอ่อนด้านซ้าย และขวามารวมกันตรงกลาง และปรับให้มีขนาดแคบลง เพื่อรูปทรงที่สวยงาม ในผู้ป่วยที่ผิวหนังบริเวณจมูกบาง บางครั้งจำเป็นต้องมีการใช้พังผืดผิวหนังมาช่วยยึด เพื่อช่วยป้องกันไม่ให้กระดูกสันจมูกหักได้
วิธีที่ 2 (การแก้ไขจมูกรูปชมพู่) การ ลดความกว้างของฐานจมูก คือ การเลื่อนสามเหลี่ยมที่ประกอบขึ้นเป็นโครงจมูก ขยับขาให้เข้ามาแคบลง ซึ่งโดยปกติจมูกกับโครงใบหน้าอื่นๆ นั้นเป็นชิ้นเดียวกัน จึงเลื่อนกระดูกเข้ามาได้มากที่สุดเท่ากับ 'ความหนา' ของมันเท่านั้น เพราะถ้าห่างมากกว่านั้น กระดูกจะลอยอยู่ (ไม่ได้เชื่อมต่อกับโครงหน้า) ส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงลดลงข้างละไม่เกิน 1 มม. หากเป็นผู้หญิงที่กระดูกบาง อาจจะได้เพียง 0.8-0.9 มม. เท่านั้น
วิธีการผ่าตัด เริ่ม จากการดมยาสลบ แล้วแพทย์จะใช้สิ่วทางการแพทย์ที่มีขนาดเล็กมาก กว้างเพียงไม่กี่มิลลิเมตร สอดเข้าไปในรูจมูก แล้วค่อยๆ แซะตัดกระดูกบริเวณฐานจมูก (ตรงจุดเชื่อมต่อระหว่างจมูกกับกระดูกแก้ม) เพื่อเลื่อนฐานสามเหลี่ยมเข้ามา แล้วเย็บปิดแผลซ่อนอยู่ในรูจมูก หลังผ่าตัด ใบหน้าจะมีการบวมเหมือนกับการผ่า ตัดทั่วไป โดยจะบวมและรู้สึกปวดมากที่บริเวณจมูกใน 3 วันแรก ให้นอนหนุนหมอนสูง การลุกเคลื่อนไหวจะช่วยให้ยุบบวมเร็วขึ้น และพักให้มากที่สุด การบวมจะค่อยๆ ยุบลงภายใน 1- 2 สัปดาห์ อาจมีรอยฟกช้ำบ้าง และหายไปในที่สุด ซึ่งความช้ำของแผลจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการผ่าตัดว่าฝีมือแพทย์ และยังขึ้นอยู่กับปัจจัยตัวคนไข้เองด้วย โดยหากเป็นผู้ที่มีอายุจะมีโอกาสเขียวช้ำมากกว่า