- เข้าร่วม
- 6 กันยายน 2019
- ข้อความ
- 13
จะว่าไปแล้วก็มีเรื่องหนึ่งที่น่าสนใจและเป็นที่ถกเถียงกันในกลุ่มผู้รู้บ้างไม่รู้บ้างก็คือเรื่องที่ว่า เอทานอล กับ แอลกอฮอล์ อันไหนกินได้กินไม่ได้ บ้างก็ว่า เอทานอล กินไม่ได้ชื่อมันไม่คุ้น บ้างก็ว่า แอลกอฮอล์ มันกินได้ เห็นไหมในเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ตั้งมากมาย แล้ววันดีคืนดีก็มีข่าวคนกินแอลกอฮอล์แล้วตาย วันนี้เราจะมาดูกันว่าแท้จริงแล้ว เอทานอล กับ แอลกอฮอล์ กินได้หรือไม่ ต้องกินอย่างไร ใช้แบบไหนถึงจะไม่เป็นอันตราย เรื่องแบบนี้รู้ไว้ปลอดภัยชัวร์
เรามาเริ่มต้นกันที่ของใกล้ตัวอย่าง แอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นจำพวกแอลกอฮอล์ล้างแผล ที่หาซื้อได้ตามร้านขายยา แอลกอฮอล์จำพวกนี้คือ แอลกอฮอล์ชนิดที่เรียกว่าเมทิลแอลกอฮอล์ หรืออีกชื่อคือ เมทานอล โดยลักษณะสำคัญก็คือ ไร้สี ไร้กลิ่น ติดไฟง่าย และละลายในน้ำได้ดี แต่ที่เขาใส่สีมาก็เพราะต้องการบอกให้เรารู้ว่ามันกินไม่ได้นะ นอกจากนี้ยังมีตัวหนังสือสีแดงคาดไว้ที่ฉลากอีกว่า “ห้ามรับประทาน” เนื่องจากแอลกอฮอล์ชนิดนี้มีความเข้มข้นสูงเกินปริมาณที่ร่างกายคนเราจะรับไหว คิดง่าย ๆ แค่ที่เราใช้ล้างแผลมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ประมาณ 70-75% ยังแสบแผลเลย เอามาล้างมือมือยังลอก ถ้ากินเข้าไปข้างในเราไม่พังเลยหรือ ที่สำคัญนอกจากใช้ในทางการแพทย์แล้ว ยังมีการใช้แอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรมบางประเภทอีกด้วย รู้อย่างนี้ยังอยากจะกิน แอลกอฮอล์ อีกไหม
ว่าแล้วก็มาต่อกันที่แอลกอฮอล์กินได้แต่ชื่อไม่คุ้นหูอย่าง เอทานอล กันบ้าง หรืออีกชื่อหนึ่งก็คือ เอทิลแอลกอฮอล์ คุณสมบัติที่โดดเด่นเลยก็คือสามารถดูดซึมได้ดีผ่านทางระบบทางเดินอาหารมากถึง 80 – 90 % ภายใน 60 นาที ไม่แปลกเลยใช่ไหมว่าทำไมเราดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปถึงรู้สึกมึนเมา
ในการผลิตเอทานอลจะใช้วิธีการหมักน้ำตาลจากนั้นค่อยนำไปใช้หมักกับพืชบางชนิดเช่น ข้าวโพด มอลต์ ข้าวบาร์เลย์ โดยมักควบคู่ไปกับยีสต์เพื่อให้ได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งยีสต์จะคอยทำหน้าที่เปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาลกลูโคส ก่อนจะกลายเป็นเอทานอลในที่สุด
ถึงแม้ว่า เอทานอล จะเป็นแอลกอฮอล์ที่สามารถกินได้แต่ก็มีการควบคุมปริมาณไว้เช่นกัน เช่น เบียร์ให้มีแอลกอฮอล์ 3.5% ต่อกระป๋อง วิสกี้ 2 ฝาใหญ่จะมีแอลกอฮอล์ที่ 35% การที่ควบคุมเช่นนี้ก็เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียต่อร่างกายในระยะยาว อย่างพวกโรคตับเป็นต้น
สรุปก็คือ แอลกอฮอล์ ที่เรารู้จักกันตามร้านขายยานั้นไม่สามารถกินได้ ส่วน เอทานอล นั้นสามารถกินได้แต่ก็ต้องอยู่ในรูปแบบของเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เท่านั้น นอกจากนี้ เอทานอล เองยังมีการนำไปใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง และน้ำยาทำความสะอาดผิวกายบางชนิด แต่ก็ต้องมีการควบคุมให้ใช้ในปริมาณที่เหมาะสมด้วยเช่นกัน แต่หากท่านใดสนใจผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพ หรือตัวยาอื่น ๆ สามารถขอคำปรึกษาได้ที่คลังยามีนบุรี ให้คำปรึกษาโดยเภสัชกร สามารถซื้อได้ที่หน้าร้าน หรือช่องทางออนไลน์ เราก็มีบริการจัดส่งให้คุณถึงบ้าน
สอบถามสินค้า สอบถามข้อมูลการใช้ยาโดยเภสัชกรโดยตรง
คอยให้คำแนะนำตลอดทั้งวันได้ที่ http://a0.pise.pw/MTYCT
เรามาเริ่มต้นกันที่ของใกล้ตัวอย่าง แอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นจำพวกแอลกอฮอล์ล้างแผล ที่หาซื้อได้ตามร้านขายยา แอลกอฮอล์จำพวกนี้คือ แอลกอฮอล์ชนิดที่เรียกว่าเมทิลแอลกอฮอล์ หรืออีกชื่อคือ เมทานอล โดยลักษณะสำคัญก็คือ ไร้สี ไร้กลิ่น ติดไฟง่าย และละลายในน้ำได้ดี แต่ที่เขาใส่สีมาก็เพราะต้องการบอกให้เรารู้ว่ามันกินไม่ได้นะ นอกจากนี้ยังมีตัวหนังสือสีแดงคาดไว้ที่ฉลากอีกว่า “ห้ามรับประทาน” เนื่องจากแอลกอฮอล์ชนิดนี้มีความเข้มข้นสูงเกินปริมาณที่ร่างกายคนเราจะรับไหว คิดง่าย ๆ แค่ที่เราใช้ล้างแผลมีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ประมาณ 70-75% ยังแสบแผลเลย เอามาล้างมือมือยังลอก ถ้ากินเข้าไปข้างในเราไม่พังเลยหรือ ที่สำคัญนอกจากใช้ในทางการแพทย์แล้ว ยังมีการใช้แอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรมบางประเภทอีกด้วย รู้อย่างนี้ยังอยากจะกิน แอลกอฮอล์ อีกไหม
ว่าแล้วก็มาต่อกันที่แอลกอฮอล์กินได้แต่ชื่อไม่คุ้นหูอย่าง เอทานอล กันบ้าง หรืออีกชื่อหนึ่งก็คือ เอทิลแอลกอฮอล์ คุณสมบัติที่โดดเด่นเลยก็คือสามารถดูดซึมได้ดีผ่านทางระบบทางเดินอาหารมากถึง 80 – 90 % ภายใน 60 นาที ไม่แปลกเลยใช่ไหมว่าทำไมเราดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปถึงรู้สึกมึนเมา
ในการผลิตเอทานอลจะใช้วิธีการหมักน้ำตาลจากนั้นค่อยนำไปใช้หมักกับพืชบางชนิดเช่น ข้าวโพด มอลต์ ข้าวบาร์เลย์ โดยมักควบคู่ไปกับยีสต์เพื่อให้ได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งยีสต์จะคอยทำหน้าที่เปลี่ยนแป้งให้เป็นน้ำตาลกลูโคส ก่อนจะกลายเป็นเอทานอลในที่สุด
ถึงแม้ว่า เอทานอล จะเป็นแอลกอฮอล์ที่สามารถกินได้แต่ก็มีการควบคุมปริมาณไว้เช่นกัน เช่น เบียร์ให้มีแอลกอฮอล์ 3.5% ต่อกระป๋อง วิสกี้ 2 ฝาใหญ่จะมีแอลกอฮอล์ที่ 35% การที่ควบคุมเช่นนี้ก็เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียต่อร่างกายในระยะยาว อย่างพวกโรคตับเป็นต้น
สรุปก็คือ แอลกอฮอล์ ที่เรารู้จักกันตามร้านขายยานั้นไม่สามารถกินได้ ส่วน เอทานอล นั้นสามารถกินได้แต่ก็ต้องอยู่ในรูปแบบของเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เท่านั้น นอกจากนี้ เอทานอล เองยังมีการนำไปใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเครื่องสำอาง และน้ำยาทำความสะอาดผิวกายบางชนิด แต่ก็ต้องมีการควบคุมให้ใช้ในปริมาณที่เหมาะสมด้วยเช่นกัน แต่หากท่านใดสนใจผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพ หรือตัวยาอื่น ๆ สามารถขอคำปรึกษาได้ที่คลังยามีนบุรี ให้คำปรึกษาโดยเภสัชกร สามารถซื้อได้ที่หน้าร้าน หรือช่องทางออนไลน์ เราก็มีบริการจัดส่งให้คุณถึงบ้าน
สอบถามสินค้า สอบถามข้อมูลการใช้ยาโดยเภสัชกรโดยตรง
คอยให้คำแนะนำตลอดทั้งวันได้ที่ http://a0.pise.pw/MTYCT