ใส่ใจสักนิด กระดูกมีชีวิต อาจเสื่อมได้ !

zuzyza

สมาชิกโดดเด่น
Registered
เข้าร่วม
3 พฤษภาคม 2018
ข้อความ
82
91YONS.jpg
หลายคนมักคิดว่ากระดูกไม่มีชีวิต แต่ในความเป็นจริงกระดูกของเราเป็นสิ่งมีชีวิตเหมือนกับเนื้อเยื่อของเรา เพียงแต่เนื้อกระดูกแข็งกว่าเนื้อเยื่อร่างกายของเราเท่านั้นเอง

“กระดูก” เป็นอวัยวะที่ประกอบขึ้นเป็นโครงร่างแข็งภายใน ซึ่งหน้าที่หลักของกระดูก คือ การค้ำจุนโครงสร้างของร่างกาย การเคลื่อนไหว การสะสมแร่ธาตุและการสร้างเซลล์เม็ดเลือด

กระดูกเป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อกระดูก มีความแข็งแรงแต่มีน้ำหนักเบา การเจริญพัฒนาของเนื้อเยื่อกระดูกในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทำให้กระดูกเป็นอวัยวะที่มีหลายรูปร่างลักษณะ เพื่อให้สอดคล้องกันกับการทำงานของกระดูกในแต่ละส่วน เช่นกะโหลกศีรษะ ที่มีลักษณะแบนแต่แข็งแรงมาก เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนของสมอง หรือกระดูกต้นขา ที่มีลักษณะยาวเพื่อเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว เป็นต้น

กระดูกประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ 2 ส่วนคือ
1.ส่วนกระดูกด้านนอก ซึ่งเรียกว่า กระดูกเนื้อแน่น (compact bone) ซึ่งมีช่องว่างของเนื้อกระดูกน้อยมาก และคิดเป็นประมาณ 80% ของเนื้อกระดูกในผู้ใหญ่
2.ส่วนกระดูกด้านใน ซึ่งเรียกว่า กระดูกเนื้อโปร่ง (spongy/cancellous bone) เป็นที่อยู่ของหลอดเลือดและไขกระดูก (marrow)


ในกระดูกของผู้ใหญ่ แม้กระบวนการเจริญพัฒนาของกระดูกจะหยุดไปแล้ว แต่ยังคงมีกระบวนการสร้างกระดูกใหม่และทำลายกระดูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อซ่อมแซมความเสียหายของกระดูก และเป็นการรักษาระดับแคลเซียมในกระแสเลือดของร่างกายเราอีกด้วย

91YCj9.jpg
อย่างไรก็ตามเราก็ไม่ควรละเลยเรื่องกระดูก เพราะ กระดูกมีชีวิต จึงทำให้มีการเสื่อมลงได้ และอาจส่งผลให้เป็นโรคกระดูกพรุน ดังนั้นทุกคนควรเริ่มดูแลกระดูกตั้งแต่วันนี้ ด้วยการเลือกทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง แต่ถึงอย่างนั้นอาจไม่เพียงพอ เพราะร่างกายคนเราจะได้รับแคลเซียมสุทธิจากการทานอาหารวันละ 400 มก. ในความเป็นจริงร่างกายควรได้รับแคลเซียมสุทธิวันละ 800-1200 มก. ถึงจะเพียงพอ


ขอแนะนำผลิตภัณฑ์แคลเซียม แอล-ทรีโอเนต ตราแคล-ที ที่จะช่วยเพิ่มเติมหรือทดแทนปริมาณแคลเซียมสุทธิที่ร่างกายขาดไปในแต่ละวันด้วย แคลเซียม แอลเทรเนต เพราะเป็นแคลเซียมชนิดเดียวที่สามารถละลายน้ำได้ดีมากและถูกซึมเข้าร่างกายได้เกือบ 100% เนื่องจากผลิตมาจากข้าวโพด จึงปลอดภัยและไม่มีสารตกตะกอนที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคนิ่วในไต

9147ia.jpg
หากท่านใดสนใจสินค้าหรืออยากทราบรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตามความรู้เรื่องแคลเซียมกับเราได้ที่ http://www.cal-t.com/ท่านทราบไหมว่า-กระดูกก็/
 

กระทู้เพิ่มเติมหมวดหมู่เดียวกัน

กลับ
บน ล่าง