- เข้าร่วม
- 16 พฤษภาคม 2018
- ข้อความ
- 32
ทำนม เพิ่มไซซ์ หวังเสริมอึ๋ม ไม่ใช่เรื่องทะลึ่งจริงๆ นะคะ ศัลยกรรมทำหน้าอกยังเป็นสิ่งที่สาวหนึ่ง สาวสอง ให้ความสนใจมาตลอดหลายสิบปี แต่แม้จะอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีล้นเมืองแค่ไหน เราก็เห็นปัญหาจากการทำนมได้อยู่เรื่อยๆ โดยเฉพาะเรื่องของความห่าง ความชิด ไปจนถึงทิศทางของหัวนมที่ผิดธรรมชาติ แล้วเราจะเสี่ยงเจอปัญหาแบบนั้นอีกนานแค่ไหน ?? ทำความเข้าใจ 5 เรื่องต้องรู้ กันพลาดเจอนมแฝด นมห่าง กันเถอะค่ะ!
“ความยืดหยุ่นของผิวหนัง มีผลกับไซซ์ซิลิโคน”
คุณหมอจะวัดความยืดหยุ่นของผิวหนังเราว่าสามารถยืดได้มากน้อยแค่ไหน ถ้ายืดได้มากโอกาสที่จะใส่ซิลิโคนไซซ์ใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพก็สูง แต่หากจับดูแล้วผิวไม่ยืดหยุ่นติดมือออกมาเลย ตรงนี้ก็อาจจะใช้ซิลิโคนไซซ์ใหญ่มากไม่ได้ ลองนึกภาพเวลาเราใส่เสื้อยืดแบบพอดีตัวกับแบบ oversize ดูก็ได้ค่ะ พื้นที่ที่เหลือมันช่างต่างกันเหลือเกินใช่มั้ยคะ ? พื้นที่ตรงนั้นแหละคือพื้นที่ที่เราสามารถใส่ซิลิโคนเข้าไปได้ ทีนี้ก็เทียบเอาว่าจะใส่ได้ใหญ่สุดที่เท่าไหร่
“C34 คัพมาตรฐานแบบฮอลลีวูด แต่ทำได้แค่กับบางคน”
จะไซซ์เท่าไรจริงๆ ก็ขึ้นอยู่ตามความชอบของแต่ละคนนะคะ แต่จากประสบการณ์ของคุณหมอส่วนใหญ่ พูดเป็นเสียงเดียวกันว่าคนไข้มักจะจิ้มไซซ์ C34 ซึ่งเป็นไซซ์มาตรฐานของดาราฮอลลีวูด
แต่ด้วยเพราะโครงสร้าง รูปร่างของคนเอเชียที่ได้ชื่อว่ามีหน้าอกเล็กระดับโลก! จากเดิมที่อยู่คัพ A อาจจะขยับเพิ่มเป็น B+ นิดๆ แต่ถ้าพื้นที่หน้าอกเดิมของคนไข้มีอยู่มาก ก็สามารถขยับไปถึงคัพ C ได้ค่ะ
“ ทำนม เสร็จแต่หัวนมชี้คนละทาง เพราะวางซิลิโคนไม่ดี”
ปัญหาหัวนมชี้แบบไร้ทิศทาง ไม่ใช่ประเด็นใหม่อะไรเลยนะคะ เกิดขึ้นนานแล้วมีบ่อยมากเว่อร์ แต่กลับเป็นประเด็นที่คนมองข้ามกันเยอะ สาเหตุของปัญหาก็มาจากเจ้าก้อนซิลิโคนที่ใส่ไปนั่นแหละค่ะ แต่ๆๆ ก็ขึ้นอยู่กับตำแหน่งการวางของคุณหมอเค้าอีกด้วย ก่อนจะวางซิลิโคน คุณหมอต้องประเมินโครงสร้างหน้าอกของคนไข้อย่างละเอียด ลักษณะหัวนมเดิมของคนไข้ว่าชี้ขึ้น ชี้ลง หรือออกข้าง.. เพื่อใช้กำหนดลักษณะการวางซิลิโคน โดยจุดสูงสุดของซิลิโคน ต้องอยู่กึ่งกลางของหัวนมพอดี ไม่อย่างนั้นอาจเกิดเหตุการณ์หัวนมเอียงเข้าหากัน หรือแยกออกจากกันได้ค่ะ
“อกชิด อกห่าง เกิดจากจุดกึ่งกลางร่างกาย (Midline Your Body)”
ในทางการแพทย์ได้วิเคราะห์ออกมาแล้วว่าควรกำหนดการวางซิลิโคนไม่ให้ห่างจากเส้น Midline (กลางหน้าอก) เกินกว่า 1 เซนติเมตรโดยประมาณ ของแต่ละข้าง
ฉะนั้นระยะห่างของหน้าอกจะอยู่ที่ประมาณ 3 เซนติเมตร ซึ่งเป็นระยะที่สวยกำลังดี ไม่เสี่ยงเกิดภาวะหน้าอกชิด หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ “นมแฝด” ซึ่งเป็นปัญหาที่แก้ยากมาก
“ระยะห่างระหว่างนม 3 เซนติเมตร กำลังดี คุณหมอเคาะมาแล้ว!”
จากหัวข้อก่อนหน้าที่ว่าด้วยเรื่องเส้น Midline ระยะ 3 เซนติเมตร หลายคนอาจสงสัยว่ามันห่างเกินรึเปล่า อยากให้รู้ไว้เลยค่ะว่านั่นคือระยะของนมตอนยังไม่ได้ใส่บรา โดยปกติของการใส่บราหรือเสื้อชั้นในของผู้หญิงนั้น จะทำให้หน้าอกถูกดันชิดติดกันแบบพอดี อย่างที่เราเห็นเป็นทรงหน้าอกสวยๆ แน่นๆ เวลาใส่บิกินีนั่นแหละค่ะ กลับกันถ้าคุณหมอทำหน้าอกชิดติดให้ตั้งแต่แรก เมื่อใส่บราเสริมปุ๊บ! นมก็เบียดปั๊บ! ให้ภาพที่ดูผิดธรรมชาติและไม่สวยอย่างรุนแรง เข้าใจตรงกับคุณหมอนะคะ
เวลาปรึกษากับคุณหมอเรื่อง การทำนม ถ้าถูกแนะนำมาว่าควรทำแบบนี้ แบบนั้น อยากให้ทุกคนตั้งใจฟังแล้วเอามาวิเคราะห์ตามหนักๆ ค่ะ อย่าเชื่อแบบจมดิ่ง หรือไม่ฟังจนลงไปดิ้นกับพื้น เพราะถ้าทำไปแล้วมีปัญหา รู้ใช่มั้ยคะว่างานแก้มันแพงกว่างานเวอร์จิ้น (เสริมครั้งแรก) และมากว่าการเสียเงินคือเสียเวลาซ้ำซ้อนค่ะ ทั้งตอนผ่าตัด ระยะพักฟื้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับน้ำหนักมือของคุณหมออีกว่าจะทำให้เราออกมาช้ำมากน้อยแค่ไหน ไม่อยากเจอปัญหาแบบลูปนรก เชิญปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่อง ทำนม กับโรงพยาบาลมาสเตอร์พีซ ติดต่อได้ที่ไลน์ @masterpiececlinic (มี @ นะคะ)
“ความยืดหยุ่นของผิวหนัง มีผลกับไซซ์ซิลิโคน”
คุณหมอจะวัดความยืดหยุ่นของผิวหนังเราว่าสามารถยืดได้มากน้อยแค่ไหน ถ้ายืดได้มากโอกาสที่จะใส่ซิลิโคนไซซ์ใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพก็สูง แต่หากจับดูแล้วผิวไม่ยืดหยุ่นติดมือออกมาเลย ตรงนี้ก็อาจจะใช้ซิลิโคนไซซ์ใหญ่มากไม่ได้ ลองนึกภาพเวลาเราใส่เสื้อยืดแบบพอดีตัวกับแบบ oversize ดูก็ได้ค่ะ พื้นที่ที่เหลือมันช่างต่างกันเหลือเกินใช่มั้ยคะ ? พื้นที่ตรงนั้นแหละคือพื้นที่ที่เราสามารถใส่ซิลิโคนเข้าไปได้ ทีนี้ก็เทียบเอาว่าจะใส่ได้ใหญ่สุดที่เท่าไหร่
“C34 คัพมาตรฐานแบบฮอลลีวูด แต่ทำได้แค่กับบางคน”
จะไซซ์เท่าไรจริงๆ ก็ขึ้นอยู่ตามความชอบของแต่ละคนนะคะ แต่จากประสบการณ์ของคุณหมอส่วนใหญ่ พูดเป็นเสียงเดียวกันว่าคนไข้มักจะจิ้มไซซ์ C34 ซึ่งเป็นไซซ์มาตรฐานของดาราฮอลลีวูด
แต่ด้วยเพราะโครงสร้าง รูปร่างของคนเอเชียที่ได้ชื่อว่ามีหน้าอกเล็กระดับโลก! จากเดิมที่อยู่คัพ A อาจจะขยับเพิ่มเป็น B+ นิดๆ แต่ถ้าพื้นที่หน้าอกเดิมของคนไข้มีอยู่มาก ก็สามารถขยับไปถึงคัพ C ได้ค่ะ
“ ทำนม เสร็จแต่หัวนมชี้คนละทาง เพราะวางซิลิโคนไม่ดี”
ปัญหาหัวนมชี้แบบไร้ทิศทาง ไม่ใช่ประเด็นใหม่อะไรเลยนะคะ เกิดขึ้นนานแล้วมีบ่อยมากเว่อร์ แต่กลับเป็นประเด็นที่คนมองข้ามกันเยอะ สาเหตุของปัญหาก็มาจากเจ้าก้อนซิลิโคนที่ใส่ไปนั่นแหละค่ะ แต่ๆๆ ก็ขึ้นอยู่กับตำแหน่งการวางของคุณหมอเค้าอีกด้วย ก่อนจะวางซิลิโคน คุณหมอต้องประเมินโครงสร้างหน้าอกของคนไข้อย่างละเอียด ลักษณะหัวนมเดิมของคนไข้ว่าชี้ขึ้น ชี้ลง หรือออกข้าง.. เพื่อใช้กำหนดลักษณะการวางซิลิโคน โดยจุดสูงสุดของซิลิโคน ต้องอยู่กึ่งกลางของหัวนมพอดี ไม่อย่างนั้นอาจเกิดเหตุการณ์หัวนมเอียงเข้าหากัน หรือแยกออกจากกันได้ค่ะ
“อกชิด อกห่าง เกิดจากจุดกึ่งกลางร่างกาย (Midline Your Body)”
ในทางการแพทย์ได้วิเคราะห์ออกมาแล้วว่าควรกำหนดการวางซิลิโคนไม่ให้ห่างจากเส้น Midline (กลางหน้าอก) เกินกว่า 1 เซนติเมตรโดยประมาณ ของแต่ละข้าง
ฉะนั้นระยะห่างของหน้าอกจะอยู่ที่ประมาณ 3 เซนติเมตร ซึ่งเป็นระยะที่สวยกำลังดี ไม่เสี่ยงเกิดภาวะหน้าอกชิด หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ “นมแฝด” ซึ่งเป็นปัญหาที่แก้ยากมาก
“ระยะห่างระหว่างนม 3 เซนติเมตร กำลังดี คุณหมอเคาะมาแล้ว!”
จากหัวข้อก่อนหน้าที่ว่าด้วยเรื่องเส้น Midline ระยะ 3 เซนติเมตร หลายคนอาจสงสัยว่ามันห่างเกินรึเปล่า อยากให้รู้ไว้เลยค่ะว่านั่นคือระยะของนมตอนยังไม่ได้ใส่บรา โดยปกติของการใส่บราหรือเสื้อชั้นในของผู้หญิงนั้น จะทำให้หน้าอกถูกดันชิดติดกันแบบพอดี อย่างที่เราเห็นเป็นทรงหน้าอกสวยๆ แน่นๆ เวลาใส่บิกินีนั่นแหละค่ะ กลับกันถ้าคุณหมอทำหน้าอกชิดติดให้ตั้งแต่แรก เมื่อใส่บราเสริมปุ๊บ! นมก็เบียดปั๊บ! ให้ภาพที่ดูผิดธรรมชาติและไม่สวยอย่างรุนแรง เข้าใจตรงกับคุณหมอนะคะ
เวลาปรึกษากับคุณหมอเรื่อง การทำนม ถ้าถูกแนะนำมาว่าควรทำแบบนี้ แบบนั้น อยากให้ทุกคนตั้งใจฟังแล้วเอามาวิเคราะห์ตามหนักๆ ค่ะ อย่าเชื่อแบบจมดิ่ง หรือไม่ฟังจนลงไปดิ้นกับพื้น เพราะถ้าทำไปแล้วมีปัญหา รู้ใช่มั้ยคะว่างานแก้มันแพงกว่างานเวอร์จิ้น (เสริมครั้งแรก) และมากว่าการเสียเงินคือเสียเวลาซ้ำซ้อนค่ะ ทั้งตอนผ่าตัด ระยะพักฟื้น ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับน้ำหนักมือของคุณหมออีกว่าจะทำให้เราออกมาช้ำมากน้อยแค่ไหน ไม่อยากเจอปัญหาแบบลูปนรก เชิญปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเรื่อง ทำนม กับโรงพยาบาลมาสเตอร์พีซ ติดต่อได้ที่ไลน์ @masterpiececlinic (มี @ นะคะ)